การออกแบบ

หุบเขานิจนิรันด์ (Eternal Hill) สุสานผู้จากไปในรูปแบบของไต้หวันที่ออกแบบความสัมพันธ์ระหว่างคนเป็นและคนตายใหม่ภายใต้คอนเซปท์ชีวิตอันเป็นนิจนิรันด์

Posted on:

ความตายเป็นสิ่ง […]

การออกแบบ

พากระจกแก้วสู่นิทรรศการ มองการผลิตแก้วผ่านเลนส์เศรษกิจหมุนเวียน

Posted on:

“เศรษฐกิจหมุนเวียนไม่เพียงแต่เป็นการรีไซเคิล  แต่ยังคือการสร้างคุณค่าขึ้นมาใหม่ได้”ตามเหตุนี้จึงได้เกิดเป็น W Glass Project ออกมา ถ้าหากไม่ได้จัดการกับของรีไซเคิลอย่างเหมาะสมได้ มันก็ยังคือของทิ้งเสียอยู่ดี  ในโปรเจ็ค W Glass เลยได้เชื่อมโยงเหล่านักรีไซเคิลมา นำขยะแก้วมาจัดการเป็นวัสดุ ผ่านการคิดค้นของนักออกแบบต่อแก้วที่ได้จากการรีไซเคิลโดยทั้งหมด มารังสรรค์อีกที ใช้ขยะแก้วที่ถูกเสียแต่แรก ส่งต่อให้มีรูปลักษณ์อันใหม่และมีมูลค่าได้

การออกแบบ

มอบโลกใบที่ดีกว่า ด้วยการออกแบบหมุนเพื่อความยั่งยืน

Posted on:

​​การออกแบบหมุนเวียน ไม่จำเป็นที่จะใช้เทคโนโลยีล้ำเลิศ สิ่งสำคัญคือนักออกแบบได้พิจารณาถึงการเลือกใช้วัสดุ คำนึงถึงแบบจำลองธุรกิจ จนส่งผลกับผลการใช้งานของผู้บริโภคได้ ให้ผู้คนที่ได้ซื้อหรือได้ใช้ทรัพยากรนั้น ได้ตระหนักรู้ในการใช้สอยได้ จึงจะนำพาให้ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมลุล่วงเข้ามาอยู่ในชีวิตประจำวันของเราทุกคนได้ รางวัล Golden Pin Design Award ที่มีอิทธิพลในวงการจีน จึงมีรางวัลการออกแบบหมุนเวียนวัสดุเพื่อความยั่งยืน อยู่ในรางวัลพิเศษประจำปี เสริมสร้างกำลังใจให้กับนักออกแบบผู้เข้าแข่งขัน ให้คอนเซ็ปท์การหมุนเวียนและความยั่งยืน มาเป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบในผลงาน และผลงานที่ได้รับรางวัลพิเศษประจำปี 2021 นี้ ได้คัดเลือกผลงานสองชิ้นขึ้นมา นอกจากจะได้เสนอประเด็นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังหวังที่จะใช้การออกแบบ ให้เข้ามาสร้างความเปลี่ยนแปลงกับทุกคนในการเลือกซื้อสินค้าบริโภค

การออกแบบ

การออกแบบเข้ามามีบทบาทอย่างไรกับสภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพ ? —— Public health Center Re-design

Posted on:

ศูนย์การบริการสาธารณสุขหน่วยตำบล หากเทียบกับเครือโรงพยาบาลขนาดใหญ่แล้ว ยังขาดภาพลักษณ์ที่สอดคล้องกันในการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับผู้ใช้ได้ นี้อาจเกิดจาก เนื้อหาสุขศึกษาที่เอ่อล้นแปะอยู่ตามบอร์ดประกาศและฝาผนังตรงบริเวณจุดพักคอย, เฉดสีหลักโทนของเก้าอี้ที่พักและจุดเคาน์เตอร์ ที่อาจส่งผลให้เกิดความเมื่อยล้าทางทิวทัศน์สายตา บวกกับวิธีการจัดวางตำแหน่งของป้ายชี้แนะและสัญลักษณ์ตามบริเวณต่าง ๆ  ที่สร้างความงุนงงให้กับผู้ใช้งาน กระนั้นแล้ว,  Taiwan Design Research Institute ได้มีการนำทีมทำวิจัยการออกแบบบริการศูนย์อนามัยทางการแพทย์ ติดต่อเชิญชวนทีมงานการออกแบบภาพอย่าง  “S.Select Lab” และทีมออกแบบจัดสรรพื้นที่ โดยนำศูนย์บริการอนามัยเมืองซินเป่ย์เป็นศูนย์สาธิตสองแห่งแรกในการปฏิบัติ เริ่มบูรณาการพื้นที่สาธารณสุขกับการออกแบบจินตภาพภาพลักษณ์ของพื้นที่สาธารณสุขภาพ ตามเงื่อนไขเดิมของศูนย์บริการที่มีอยู่ การออกแบบพื้นที่สาธารณะครั้งนี้ได้รับรางวัลชนะเริศด้านการออกแบบเพื่อสังคม จาก Golden Pin Design Award ในปี 2021

การออกแบบ

ออกแบบของใช้ส่วนบุคคลจนถึงภาคสังคม ในการพาสู้โควิด-19

Posted on:

เมื่อต้นเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมานี้ ไต้หวันตกอยู่ในวิกฤตกับการระบาดกระลอกใหม่ครั้งที่สองของโควิด-19 ต้องเผชิญอยู่กับมาตรการล็อกดาวน์เมือง กับเปลี่ยนรูปแบบการทำงานจากระยะไกลนานนับถึงสองเดือน เหล่านักออกแบบในไต้หวันจึงได้ทำการออกแบบกระเป๋าถุงมือป้องกันการระบาด หอพักผู้ป่วยระบบอัจฉริยะ จนไปถึงการได้ย้อนกลับไปแก้ไขวางแผนครั้งใหม่เกี่ยวกับระบบการแพทย์พื้นฐาน ที่ทุกคนจำเป็นต้องคลุกคลีอยู่ร่วมด้วยอย่างเป็นประจำ

การออกแบบ

​นอกจากได้ยินเสียงดนตรีแล้ว เรายังสามารถ “มอง” เห็นมันได้อีกด้วย ! 3 การออกแบบของอัลบั้มในไต้หวันที่คุณไม่ควรพลาด

Posted on:

แม้ว่าปัจจุบันจะเป็นโลกยุคดิจิตอลที่เราไม่จำเป็นต้องซื้ออัลบัมซีดีมาฟังเหมือนสมัยก่อนแล้ว แต่การออกแบบปกอัลบั้มในไต้หวันยังคงอยู่ในจุดที่แข็งแกร่งไม่สั่นคลอนมาตั้งแต่ในอดีตจนปัจจุบัน ซึ่งทั้งงานประกวดการออกแบบอย่าง Golden Melody Award ที่เป็นงานรางวัลเพลงที่สำคัญในสังคมชาวจีน และงานรางวัล Golden Pin Design Award ต่างก็ให้ความสนับสนุนผลงานการออกแบบอัลบั้มในรูปแบบใหม่ๆ ที่สร้างสรรค์เป็นอย่างมาก ทั้งนี้ ทางเราอยากจะแนะนำผลงานอัลบั้มของไต้หวัน 3 ชิ้นที่คุณไม่ควรพลาดดังนี้ “No dream, no life” (ชีวิตที่ไม่ควรปราศจากความฝัน) ออกแบบโดยคุณ godkidlla, “Metropolis” ออกแบบโดยคุณแอรอน(Aaron Nieh Workshop), “Hold that tiger” (จับเสือตัวนั้นไว้)——ออกแบบโดย Onion Design

การออกแบบ

การออกแบบเพื่อเพรียกหาช่องทางออก ให้กับกลุ่มแรงงานภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้—— จากโครงการ “Book & Host” ไต้หวัน

Posted on:

“Book & Host” คือสื่อการเรียนการสอนภาษาจีนโครงการแรกที่มุ่งเน้นความต้องการของแรงงานต่างชาติเป็นจุดประสงค์หลัก มีทั้งหนังสือเรียนภาษาจีนและคาบเรียนวีดีโอออนไลน์ เปิดโครงการรวมระดมทุน เรียนหาเสียงคนไต้หวันให้เข้ามามีส่วนร่วมด้วยกัน นำสื่อการเรียนการสอนส่งมอบให้แก่แรงงานต่างชาติที่อยู่ในทั่วทุกมุมไต้หวัน

การออกแบบ

มาเที่ยวไต้หวันกันเถอะ! ไม่ใช่แค่ภูเขาสวยน้ำใส ยังได้สัมผัสประสบการณ์รถทัวร์สุดสบายอีกด้วย

Posted on:

รถทัวร์สายไทเป-ฮวาเหลียน (TPE-HUN) เป็นรถทัวร์สายแรกของไต้หวันที่ผสานการขนส่งสาธารณะเข้ากับการออกแบบที่สวยงาม ด้วยการนำของกระทรวงคมนาคม และสถาบันการออกแบบและวิจัยไต้หวัน ประกอบกับบริษัทเอกชนอย่างบริษัทออกแบบ 247Visual Art และ U.10 Design รวมถึงสมาคมรถทัวร์ อุตสาหกรรรมเครื่องยนตร์ และความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ มาออกแบบรถทัวร์สำหรับไทเปไปฮวาเหลียนในระยะเวลาสามชั่วโมงครึ่ง

การออกแบบ

ปราสาทลอยท้องฟ้าเวอร์ชันไต้หวัน – จุดไฟให้ซากปราสาท 13 ชั้น

Posted on:

’จุดไฟให้ซากปราสาท 13 ชั้น’ (Light Up 13-Layer Remains) เป็นการรีโนเวทสถานที่ โดยทำการออกแบบใหม่บนพื้นที่สิบสามชั้นให้ผสานเข้ากับการศึกษาสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพย์สินทางวัฒนธรรมและการพัฒนาชุมชน ทำให้พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นงานศิลปะสาธารณะชิ้นแรกของไต้หวันที่นำพื้นที่ที่มีสารปนเปื้อนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยให้กลายเป็นเหมือนพิพิธภัณฑ์ฑ์กลางแจ้งและเป็นพื้นที่ในการเชื่อมสัมพันธ์ของผู้อยู่อาศัยรอบๆ และเป็นพื้นที่แหล่งใหม่แห่งวงการท่องเที่ยวไต้หวัน ทำให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จักสถานโบราณแห่งนี้อีกครั้ง

การออกแบบ

ปฏิรูปวงการศึกษาไต้หวันด้วยศิลปะบนหนังสือเรียน

Posted on:

ไม่ว่าพื้นฐาน ที่อยู่ หรือฐานะทางบ้านจะแตกต่างกันอย่างไรก็ตาม หนังสือเรียนก็เป็นเป็นสื่อการเรียนแรกที่นักเรียนได้รับอย่างเป็นทางการ ในปี 2013 นักเรียนมหาวิทยาลัยทั้งสามท่านจากไต้หวันได้ก่อตั้งสมาคมความงามผ่านเซลล์ (美感細胞協會:Aestheticell Association) และออกโครงการส่งเสริมความสร้างสรรค์สวยงามแก่หนังสือเรียนโดยมุ่งจะเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดีไซน์ของหนังสือเรียนในไต้หวัน ซึ่งถือเป็นจุดสำคัญในการปฏิรูปวงการการศึกษาผ่านทางการออกแบบหนังสือเรียนของนักเรียนระดับประถมถึงมัธยมต้น